ข้ออ้อย20 ราคา ถูก
เหล็กเส้นกลมและเหล็กข้ออ้อย
เหล็กส่วนใหญ่ที่ใช้ในงานคอนกรีต จะมี2ประเภท คือ เหล็กข้ออ้อย(DB)เหล็กเส้นกลม(RB) หน้าตัดของเหล็กเส้นกลมจะขนาดมีตั้งแต่ 6-18 มม. และเหล็กข้ออ้อยหน้าตัดของเหล็กข้ออ้อยจะมีตั้งแต่10-32 มม.ส่วนมากโดยทั่วไปเหล้กข้ออ้อยนั้นจะนำมาใช้เป็นโครงสร้างหลัก และเหล็กเส้นกลมนิยมาทำเป็นปลอกรัดรอบโครงสร้างหลัก เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของโครงสร้าง โดยทั่วไปการใช้เหล็กข้ออ้อยกับเส้นกลมนั้นจะใช้คู่กับคอนกรีต เพื่อนำไปเสริมเหล็ก มักนิยมเรียกว่า ค.ส.ล. การสังเกตการณ์ใช้งานของเหล็ก แนวเสาตั้งตลอดแนว จะใช้เหล็กยืนเป็นเหล็กข้ออ้อย และรัดรอบๆด้วยเหล็กเส้นกลมเป็นระยะๆแนวนอนกับแนวตั้งทำเหมือนๆกัน
เหล็กเสริม (reinforcement)
เหล็กเสริมมีรูปร่างทั้งเป็นแบบเส้นเป็นท่อนๆหรือเป็นตะแกรงฝังใน ส่วนมากเหล็กเสริมจะมีหน้าที่เอาไปเสริมคอนกรีตทำให้โครงสร้างแข็งแรงมากขึ้น และต้านทานต่อแรงต่างๆที่เกิดกับคอนกรีต
โดยทั่วไปรู้กันอยู่แล้วว่าคุณสมบัติของคอนกรีตสามารถรับแรงอัดได้สูง แต่ค่อด้อยคือจะเปราะบางและไม่สามารถรับแรงดึงได้ จึงมีการเอาเหล็กเข้ามาเสริมในคอนกรีจเพื่อรับแรงอัดและแรงดึง จะได้มีประสิทธิ์ภาพในการยึดหดตัวเท่าๆกับคอนกรีตที่มาใช้รวมกัน ทั้งนี้วัสดุระหว่างเหล็กและคอนกรีตจะมีการเกื้อหนุนกันช่วยกันรับและถ่ายแรงถึงได้นำมาออกแบบเพราะจะสามารถทำให้โคตรสร้างแข็งแรงขึ้น
บทบาทของเหล็กจะทำหน้าที่โดยการรับแรงดึงจะมีการพิจารณาความสามารถในการรับแรง ส่วนการรับแรงอัดนั้นเป็นหน้าที่ของคอนกรีต คอนกรีตที่ใช้เหล็กเสริม ที่คนนิยมทั่วไปเรียกกันว่าคอนกรีตเสริมเหล็กการเสริมเหล็ก ที่คอม้าหรือเหล็กปลอก เป็นจุดที่เกิดแรงเฉือน จะสามารถรับแรงต่างๆที่เกิดขึ้นได้ดีและเพิ่มความแข็งแรงด้วยนั่นเอง ช่วยสามารถป้องกันการพังของโครงสร้างและอันตรายที่เกิดขึ้นได้ นอกจากนี้การเสริมเหล็ก ยังช่วยลดขนาดของเสาคานลงได้ โดยไม่ส่งผลกระทบต่อความแข็งแรง และเหล็กจะถูกดัดงอตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน
วิศวกรจะเป็นผู้ออกแบบงานก่อสร้างทั้งหมด ทั้งการกำหนด ชนิด ปริมาณ และการวางตำแหน่งของเหล็กเสริม สำหรับงานคอนกรีตเสริมเหล็ก ผู้ที่ก่อสร้างจะต้องทำตามมาตราฐานที่วิศวกรกำหนดมาห้ามมีการเปลี่ยนแปลงใดๆ โดยไม่ได้รับความยินยอมของวิศวกรผู้ออกแบบ หากไม่ทำตามที่กำหนดไว้โครงสร้างอาจจะมีการผิดเพี้ยนได้หรือก่อให้เกิดการสูญเสียกับชีวิตและทรัพย์สินได้
เหล็กเสริม
เหล็กเสริมส่วนใหญ่ที่นำมาใช้ในงานคอนกรีตเสริมเหล็กนิยมใช้เหล็กกล้าผสม
เหล็กเส้นกลม (RB)
เหล็กเส้นกลม เป็นเหล็กที่มีพื้นที่ในการตัดขวางเป็นวงกลม มีผิวเรียบเนียนไม่เหมือนกับเหล็กข้ออ้อย จะทำจากเหล็กเส้นใหญ่,เหล็กแท่ง หรือเหล็กแท่งหล่อ เป็นเหล็กเส้นกลมที่มีมาตรฐาน มอก. โดยทำการนำไปรีดร้อนโดยไม่ผ่านการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อย่างอื่นมาก่อน มีความยาว มาตรฐาน 10 หรือ 12 เมตร และขนาด 9, 12, 15, 19, 22, 25, 28 และ 34 มม. โดยชั้นคุณภาพจะใช้สัญลักษณ์ SR24 แล้วต่อด้วยเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็กเส้น
เหล็กทุกเส้นที่ผลิตจะต้องมีชื่อขนาดหล่อเป็นตัวนูนติดกับผิวเหล็ก ทุกเส้นจะต้องมีชื่อและเครื่องหมายการค้าของผู้ผลิต ชื่อที่ติดอยู่กับเครื่องหมายการค้าต้องห่างกันขนาดไม่น้อยกว่า 50 มม. ตามมาตตราฐานของเหล็หเส้นกลมทุกเว้นจะมีอักษรย่อติดอยู่ว่า บสส.ตราช้าง หรือ RB12 เป็นตัวนูนขึ้นมาติดกับผิวเหล็กทุกเส้นใช้กับงานก่อสร้างขนาดกลางและขนาดเล็กจะนิยมใช้เหล็กเส้นชนิดนี้มากที่สุด
เหล็กรีดซ้ำ
เหล็กที่เป็นที่รู้จักอีกชนิดหนึ่งที่ถูกนำมาใช้กับงานก่อสร้างขนาดกลางและก็ขนาดเล็ก คือ เหล็กรีดซ้ำ ตามมาตรฐาน มอก.เหล็กเส้นกลมชนิดนี้ ผลิตจากเศษเหล็กที่ได้มาจากเข็มพืด เหล็กโครงสร้าง เหล็กแผ่นต่อเรือ หรือเหล็กที่ทำการคัดออกจากช่วงเวลาการผลิตต่างๆโดยการนำเอาเหล็กพวกนี้มารีดเป็นเส้นกลมโดยผ่านกรรมวิธีรีดร้อน ขนาดที่นิยมใช้ทั่วไปมีขนาด ขนาด 6, 8, 9, 10, 12 และ 15 ม.ม. ความยาว 10 หรือ 12 เมตร มีชั้นคุณภาพเดียว ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย SRR 24 จะใช้ชื่อย่อด้วย R แล้วต่อด้วยขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็กเส้น เหล็กทุกเส้นที่ผลิตจะต้องมีชื่อขนาดหล่อเป็นตัวนูนติดกับผิวเหล็ก ทุกเส้นจะต้องมีชื่อและเครื่องหมายการค้าของผู้ผลิต ชื่อที่ติดอยู่กับเครื่องหมายการค้า
เหล็กข้ออ้อย (DB)
ลักษณะของเหล็กข้ออ้อยจะสังเกตง่ายๆคือผิวไม่เรียบเนียน ตัวเหล็กเส้นหน้าตัดเป็นรูปวงกลม จะมีคล้ายๆกับครีบที่ผิว หรือ บั้ง เพื่อจะทำให้เวลาเทคอนกรีตเสริมเหล็กเข้าไปจะมีกำลังยึดเพิ่มขึ้น เหล็กข้ออ้อยตามมาตราฐาน มอก. ทำจากเหล็กประเภทเดียวกัน กรรมวิธีการผลิตเหมือนกับเหล็กเส้นกลม ขนาดที่นิยมใช้ทั่วไปมีขนาด ขนาด 10, 12, 16, 20, 22,25,28 และ 32 ม.ม. ความยาว 10 หรือ 12 เมตร มี3ชั้นคุณภาพใช้อักษรย่อแทนด้วย SD30, SD 40 และ SD 50 ชื่อขนาดใช้ตัวย่อDB แล้วจามด้วยเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็กนั้นๆเหล็กเส้น เหล็กทุกเส้นที่ผลิตจะต้องมีชื่อขนาดหล่อเป็นตัวนูนติดกับผิวเหล็ก ทุกเส้นจะต้องมีชื่อและเครื่องหมายการค้าของผู้ผลิต ชื่อที่ติดอยู่กับเครื่องหมายการค้า เหล็กเส้นชนิดนี้จะมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างเหล็กกับคอนกรีต ได้ดีกว่าเหล็กสองแบบแรก งานก่อสร้างที่ต้องการความแข็งพิเศษจึงนิยมนำเหล็กข้ออ้อยไปใช้งาน
เหล็กเส้นมีหน้าที่
โดยทั่วไปแล้วหน้าที่ของเหล็กเส้นจะเป็นเป็นเหล็กที่ไว้ใช้สำหรับรองรับแรงกดของโครงสร้าง โดยเหล็กเส้นแต่ละตัวก็จะมีค่ารองรับแรงกดได้ไม่เท่ากัน เช่น
โดยทั่วไปแล้วหน้าที่ของเหล็กเส้นมีไว้สำหรับรองรับแรงกดหรือน้ำหนักของโครงสร้าง โดยเหล็กแต่ละตัวมีการรองรับแรงกดไม่เหมือนกัน ตัวอย่างเช่น
-เหล็กเส้นกลม ค่ารองรับแรงกดจะใช้อักษรย่อด้วย SR
-เหล็กข้ออ้อย ค่ารองรับแรงกดจะใช้อักษรย่อด้วย SD
นอกจากหน้าที่ของเหล็กเส้นจะมีการรองรับแรงกดแล้ว ยังช่วยทำให้อาคารมั่นคงและแข็งแรงมากขึ้น และยังช่วยยึดเหนี่ยวปูน
การตรวจสอบเหล็กที่มีคุณภาพ
เหล็กทุกเส้นที่ผลิตจะต้องมีชื่อขนาดหล่อเป็นตัวนูนติดกับผิวเหล็ก ทุกเส้นจะต้องมีชื่อและเครื่องหมายการค้าของผู้ผลิต ชื่อที่ติดอยู่กับเครื่องหมายการค้า เมื่อมีการผลิตเหล็กเส้นออกจำหน่าย ผู้ผลิตจะต้องติดป้ายเหล็กเพื่อบอกรายละเอียดที่เป็นข้อมูลสำคัญ ได้แก่
* ชั้นคุณภาพ
* บริษัทผู้ผลิต ประเภทสินค้า
* ขนาด
* ความยาว
* วันเวลาที่ผลิต
* เครื่องหมายมอก.
ข้ออ้อย20 ราคา ถูก
**สามารถสั่งซื้อสินค้า และ เช็ค ราคา ข้ออ้อย16 ได้ที่นี่**
รีวิว
ยังไม่มีบทวิจารณ์