ประเภทของไวร์เมชและการผลิต
ไวร์เมชเป็น ตะแกรงเหล็ก ที่ใช้ในเสริม ความแข็งแกร่ง ให้กับคอนกรีต ซึ่งก่อนที่จะมี การผลิตไวร์เมช มาใช้งานนั้น จะเป็นการนำ เหล็กเส้นมาผูก ต่อกันเป็นตะแกรง ซึ่งจะเป็นการ ใช้เวลาใน การผูกเหล็กที่ ค่อนข้างเยอะมาก พอสมควร ในปัจจุบันเลยมี การผลิตเหล็กไวร์เมช
มาให้ใช้งานกัน เพื่อให้ง่ายต่อการใช้งาน สามารถประหยัด เวลาได้อีกด้วย ซึ่งเหล็กไวร์เมช จะมีการผลิต มาจากเหล็กเส้น มีที่ขนาดเริ่มตั้งแต่ สามมิลลิเมตร จนถึง หกมิลลิเมตร ซึ่งจะนำ มาเชื่อมต่อ กันด้วยการอาร์คด้วยไฟฟ้า
ทำให้ไวร์เมช สามารถติดกัน ได้เป็นอย่างดี และ เหล็กไวร์เมช ยังมีการผลิตมา ให้เลือกใช้งานด้วยกัน 2แบบ เราไปทำความรู้จักกันเลย
สารบัญ
- ประเภทของไวร์เมช
- ขั้นตอนการผลิตไวร์เมช
- คุณสมบัติของไวร์เมช
- การนำไวร์เมชไปใช้งาน
- ข้อควรรู้เพิ่มเติม
- วิธีการสั่งซื้อ
ประเภทของ ตะแกรงเหล็ก ไวร์เมช
ไวร์เมชใน ปัจจุบันไวร์เมช เป็นวัสดุที่ใช้กัน อย่างแพร่หลาย เพราะเหล็กไวร์เมช เป็นเหล็กที่มีไว้ เสริมความแข็งแรง ให้กับคอนกรีต และ มีการผลิตออกมา เพื่อให้เลือก ใช้งานด้วยกัน 2 แบบ คือ
เหล็กไวร์เมช ชนิดแบบม้วน จะมีการผลิต มาจากเหล็กที่ มีขนาดความหนาอยู่ที่ สี่มิลลิเมตรลงมา จึงทำให้ เหล็กไวร์เมช ชนิดนี้สามารถม้วน หรือ ทำการพับได้นั้นเอง และ ส่วนใหญ่ไวร์เมช แบบม้วนมักจะ นิยมใช้ในงานก่อสร้างทั่ว ๆ เช่น ถนน พื้นของบ้าน พื้นโรงจอดรถ ลานต่าง ๆ เป็นต้น
- ไวร์เมชแบบแผง
เหล็กไวร์เมช แบบแผงเป็นวัสดุ ที่ผลิตมาจาก เหล็กเส้นที่มี ขนาดตั้งแต่ หกมิลลิเมตรขึ้นไป ซึ่งในการผลิตจะ ใช้เป็นเหล็กลวด หรือ เหล็กข้ออ้อย ก็สามารถใช้ ในการผลิตได้ และ ไวร์เมชชนิดนี้ จะเป็นวัสดุที่มี คุณสมบัติที่ มีความแข็งแรง สามารถใช้ได้ ในงานโครงสร้างที่ ต้องการความแข็งแรงสูง ซึ่งจะนิยมมา ใช้ในงานการทำถนน พื้นโกดังเก็บสินค้า พื้นลานสนามบิน เป็นต้น
ขั้นตอนการผลิตเหล็กไวร์เมช
- ขั้นตอนแรกในการผลิต เหล็กไวรเมชนั้น จะต้องมีการเลือก ประเภทเหล็ก ที่จะใช้ในการผลิต และ ต้องมีขนาดตั้งแต่ 3มิลลิเมตร เป็นต้นไป ซึ่งขนาดที่ ใช้ในการผลิต จะขึ้นอยู่กับลักษณะ งานที่จะนำไปใช้อีกด้วย
- หลังจากที่ทำการ เลือกเหล็กเสร็จ แล้วให้ทำการ นำเหล็กเข้าสู่ ขั้นตอนการอาร์คด้วยไฟฟ้า ซึ่งจะทำให้เหล็ก ติดกันจนเป็นลักษณะ ของตะแกรงเหล็กนั้นเอง
- หลังจากที่ทำ การอาร์คด้วย ไฟฟ้าเสร็จแล้ว จึงได้เหล็กไวร์เมช ที่เสร็จสมบูรณ์แล้ว ก็สามารถนำ ไปใช้งานได้เลย
- ชั้นตอนนี้ จะเป็นการเก็บ รักษาเหล็กไวร์เมช ซึ่งจะเก็บไว้ในพื้นที่แห้ง และ ห่างจากความชื้น
- ขั้นตอนนี้ จะเป็นการเตรียม เหล็กไวร์เมช ก่อนเพื่อให้ง่าย และ สะดวกต่อการขนส่งนั้นเอ
- ขั้นตอนนี้จะ เป็นการขนส่ง เหล็กไวร์เมช ซึ่งในการขนส่ง จะใช้รถที่มีขนาดใหญ่ และ มีความเหมาะสม กับขนาดของเหล็กไวร์เมชด้วย
คุณสมบัติของเหล็กไวร์เมช
- เป็นตะแกรงเหล็ก ที่มีคุณสมบัติ ที่มีความแข็งแรง ทนทานสูง
- ช่องของตะแกรงเหล็ก ไวร์เมชนั้น จะมีการผลิต ออกมาให้มี ความเท่ากัน ทุกช่อง ซึ่งทำให้ง่ายต่อ การใช้งานนั้นเอง
- เนื่องจากเหล็ก ไวร์เมชเป็น ตะแกรงเหล็กที่ สำเร็จรูปมาแล้ว ดังนั้นในการทำงาน จึงไม่ต้อง ทำการผูกเหล็ก ซึ่งช่วยประหยัด เวลาในการทำงาน และ ค่าแรงคนงาน ในการผูกเหล็กได้อีกด้วย
การนำเหล็กไวร์เมชไปใช้งาน
ส่วนใหญ่จะใช้ ตะแกรงเหล็กไวร์เมช ที่มีขนาดอยู่ที่ 3.6 มิลลิเมตร ซึ่งจะใช้เหล็กไวร์เมช ที่ใช้ในงานปูพื้นทั่ว ๆ ไป หรือพื้นต่าง ๆ ที่เห็นกันทั่วไป
ส่วนใหญ่จะใช้ เหล็กไวร์เมชที่มี ขนาดอยู่ที่ 4 มิลลิเมตร จะใช้เหล็กไวร์เมช ที่ใช้ในการปู พื้นลานจอดรถ หรื อโรงงาน
ส่วนใหญ่เหล็ก ไวร์เมชขนาด 6 มิลลิเมตร จะใช้ในงานพื้นถนน ที่ต้องการคุณสมบัติ ที่สามารถรับแรงได้เยอะ เพื่อให้ได้งานที่มีความแข็งแรงมากยิ่งขึ้น
เหล็กไวร์เมชที่ใช้ ในงานพื้นงาน โครงสร้างถนน ที่ต้องการคุณสมบัติที่ สามารถรับน้ำหนัก ได้สูง และ งานถนนที่มี การสัญจรผ่าน ไปมาอยู่ตลอดเวลา ส่วนใหญ่จะใช้เป็น เหล็กไวร์เมชขนาด 9 หรือ 12 มิลลิเมตร
ข้อควรรู้เกี่ยวกับเหล็กไวร์เมช
- เหล็กไวร์เมช เป็นวัสดุที่ได้มา จากการผลิต ที่ทำการเชื่อม เหล็กเข้าด้วยกัน และ ทำเป็นตะแกรง เหล็กเพื่อนำ มาใช้งานเป็นเหล็กเสริม ความแข็งแกร่งให้กับคอนกรีต
- เหล็กไวร์เมชมี การผลิตออก มาหลากหลายขนาด ซึ่งก่อนการนำ มาใช้งานต้องรู้ ขนาดของไวร์เมช และ ขนาดของช่องไวร์เมชด้วย เพื่อป้องกัน การนำมาใช้งานผิวประเภท
- ตะแกรงเหล็กไวร์เมช เป็นวัสดุที่มีการผลิต ออกมาเพื่อ เป็นการเสริม ความแข็งแรง ให้กับคอนกรีต
- เหล็กที่ใช้ใน การผลิตเหล็ก ไวร์เมชนั้น จะใช้เหล็กอยู่ สองชนิดคือ เหล็กเส้นกลม และ เหล็กข้ออ้อย
- เหล็กไวร์เมช สามารถป้องกัน สนิมได้โดย การใช้เหล็ก ชุบเคลือบกัลป์วาไนซ์ มาผลิตเหล็กไวร์เมช ส่วนใหญ่จะใช้ รองฉนวนกัน ความร้อนที่อยูภายในบ้าน
- เหล็กไวร์เมช ที่มีการผลิตมา จากเหล็กข้ออ้อย จะมีคุณสมบัติที่ สามารถรับน้ำหนัก ได้ดีมากกว่าเหล็กไวร์เมช ที่มีการผลิตมา จากเหล็กเส้นกลม
***สนใจวัสดุอุกรณ์ก่อาสร้าง สามารถสั่งซื้อกับเราได้ที่นี่***
Tel.086-341-9908**